วันเสาร์ที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2568

แคลเซียมคาร์บอเนต, เกรดอาหาร, โทร 0893128888, Calcium Carbonate, CaCO3, Food Grade



แคลเซียมคาร์บอเนต, เกรดอาหาร, โทร 0893128888, Calcium Carbonate, CaCO3, Food Grade

วัตถุเจือปนอาหาร, Food Additive, Food Chemical Codex, FCC, E No. 170

ผลิตแคลเซียมคาร์บอเนต, จำหน่ายแคลเซียมคาร์บอเนต, ขายส่งแคลเซียมคาร์บอเนต

นำเข้าแคลเซียมคาร์บอเนต, ส่งออกแคลเซียมคาร์บอเนต, โรงงานแคลเซียมคาร์บอเนต

ไทยแลนด์แคลเซียมคาร์บอเนต, แคลเซียมคาร์บอเนตไทย, แคลเซียมคาร์บอเนตนำเข้า

สามารถสอบถามข้อมูลสินค้า ขอตัวอย่างสินค้าทดลอง และสั่งซื้อสินค้าได้ที่

บริษัท ไทยโพลีเคมิคอล จำกัด (วัตถุเจือปนอาหาร)
Thai Poly Chemicals Company (Food Additive)
Tel No: 034854888
Mobile: 0893128888

Line ID: thaipoly8888

Email: thaipoly8888@gmail.com

Web: www.thaipolychemicals.com

TPCC CALCIUM CARBONATE FCC

เคมีภัณฑ์ เกรดอาหาร, วัตถุเจือปนอาหาร, เคมีภัณฑ์ เกรดยา, เกรดยูเอสพี, เกรดอีพี, เกรดเจพี

สอบถามข้อมูลได้ที่ บจก. ไทยโพลีเคมิคอล จำกัด, คุณภาพเคมีภัณฑ์ สร้างสรรค์คุณภาพชีวิต

Chemical, Food Grade, Food Additive, FCC, Pharmaceutical Grade, USP, EP, JP

Please Contact Thai Poly Chemicals Company, Poly Chemicals For A Better Life

วัตถุเจือปนอาหารในกลุ่ม แคลเซียม, Calcium ที่บริษัท ฯ จัดจำหน่ายในปัจจุบัน ได้แก่

Calcium Carbonate, CaCO3, Food Additive E170, แคลเซียมคาร์บอเนต

Calcium Chloride, CaCl2, Food Additive E509, แคลเซียมคลอไรด์

Calcium Citrate, Tricalcium Citrate, Food Additive E333, แคลเซียมซิเตรต

Calcium Disodium EDTA, Ca EDTA 2Na, Food Additive E385, แคลเซียมไดโซเดียมอีดีทีเอ

Calcium Hydroxide, Hydrated Lime, E526, แคลเซียมไฮดรอกไซด์, ไฮเดรตไลม์, ปูนขาว

Calcium Lactate, Food Additive E327, แคลเซียมแลคเตท, แคลเซียมแลคเตต

Calcium Oxide, Food Additive E529, แคลเซียมออกไซด์, ควิกไลม์, ปูนร้อน, ปูนขาวร้อน

Calcium Propionate, Food Additive E282, แคลเซียมโพรพิโอเนต, แคลเซียมโปรปิโอเนต

Calcium Stearate, Food Additive E470, แคลเซียมสเตียเรต, แคลเซียมสเตียเรท

Calcium Sulfate, Calcium Sulphate, E516, แคลเซียมซัลเฟต, เจี๊ยะกอ, ผงยิปซัม

Specialty Calcium Chemical, Food Grade, เคมีภัณฑ์แคลเซียม เกรดอาหาร ชนิดพิเศษอื่น ๆ

More information of Food additive, Food Grade Chemical

Food Chemical Codex, FCC, EP, USP, JP, please contact

Thai Poly Chemicals Company (TPCC) (Food Additive)

Tel +6634 854888, +668 9312 8888

Official Line ID: thaipoly8888

Email: thaipoly8888 (at) gmail.com

UD Calcium Carbonate TPCC 2026

วันพฤหัสบดีที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2568

แบะแซ, กลูโคสก้อน, น้ำเชื่อมแบะแซ, แบะแซแก้ว, น้ำเชื่อมกลูโคส, กลูโคสไซรัป, Glucose Syrup, G40S

 


แบะแซ, กลูโคสก้อน, น้ำเชื่อมแบะแซ, แบะแซแก้ว, น้ำเชื่อมกลูโคส, กลูโคสไซรัป, Glucose Syrup, G40S

ผลิตแบะแซ, โรงงานแบะแซ, จำหน่ายแบะแซ, นำเข้าแบะแซ, ส่งออกแบะแซ, บริษัทแบะแซ, แบะแซไทย, แบะแซG40S

ผลิตกลูโคสก้อน, โรงงานกลูโคสก้อน, จำหน่ายกลูโคสก้อน, นำเข้ากลูโคสก้อน, ส่งออกกลูโคสก้อน, กลูโคสก้อนG40S

สามารถสอบถามข้อมูลสินค้า ขอตัวอย่างสินค้าทดลอง และสั่งซื้อสินค้าได้ที่

บริษัท ไทยโพลีเคมิคอล จำกัด (วัตถุเจือปนอาหาร)
Thai Poly Chemicals Company (Food Additive)
Tel No: 034854888
Mobile: 0893128888

Line ID: thaipoly8888

Email: thaipoly8888@gmail.com

Web: www.thaipolychemicals.com

UD TPCC THAILAND SYRUP G40S

ข้อมูลสินค้า แบะแซ น้ำเชื่อมกลูโคส (GLUCOSE SYRUP)

ชื่อเรียกอื่น ๆ ของ แบะแซ น้ำเชื่อมกลูโคส (Synonym of Glucose Syrup) ได้แก่ น้ำเชื่อมกลูโคส, น้ำตาลกลูโคส, กลูโคสไซรัป, กลูโคสไซรัพ, กลูโคสซีรัป, กลูโคสซีรัพ, กลูโคสเหลว, กลูโคสน้ำ, กลูโคสผง, แบะแซ, แป๊ะแซ, น้ำเชื่อม G40S, ไซรัป G40S, แบะแซ G40S, กลูโคสก้อน, กลูโคสข้น, กลูโคสเหนียว, กลูโคสแบะแซ, แบะแซน้ำ, แบะแซเหลว, แบะแซผง, แบะแซG40S, สารให้ความหวาน, สวีทเทนเนอร์, สวีทเทนนิ่งเอเจ้น, Glucose Syrup, Liquid Glucose, Glucose Solution, Glucose G40S, Syrup G40S, Sweetener, Sweetening Agent

รายละเอียดทั่วไปของผลิตภัณฑ์

แบะแซ หรือ กลูโคสไซรัป (Glucose Syrup) หรือ น้ำเชื่อมกลูโคส ผลิตมาจากแป้งมันสำปะหลัง ซึ่งจะมีน้ำตาลกลูโคสชนิดหนึ่ง เป็นผลิตภัณฑ์น้ำเชื่อม ที่มีลักษณะ เหนียว ใส หนืด มีทั้งชนิดใสและสีเหลืองน้ำตาลอ่อน นิยมใช้เพื่อช่วยให้น้ำตาลรัดตัวเร็วขึ้น ไม่ตกผลึกหรือมีลักษณะเนื้อเป็นทราย เหมือนน้ำตาลประเภทอื่นๆ ในต่างประเทศเราจะพบว่ามี Corn Syrup ซึ่งเป็นแบะแซอีกชนิดหนึ่ง เป็นน้ำตาลที่ได้จากการเปลี่ยนแป้งข้าวโพดให้เป็นน้ำตาล ซึ่งเป็นแหล่งสารให้ความหวานราคาถูก เพื่อใช้ทดแทนน้ำตาลเช่นเดียวกัน

แบะแซ เป็นสารให้ความหวาน ที่นิยมใช้ให้ความหวานแทนน้ำตาล นิยมใช้กันทั้งในอุตสาหกรรมอาหาร ผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูป ขนมหวาน น้ำหวาน ลูกกวาด ลูกอม รวมทั้งอุตสาหกรรมยาอีกด้วย แบะแซเป็นสารให้ความหวาน ที่ได้มาจากการย่อยแป้งมันสำปะหลัง หรือแป้งข้าวโพด โดยส่วนใหญ่จะใช้เพื่อทดแทนน้ำตาล หรือทำให้น้ำตาลเกิดการรัดตัวเร็วขึ้น มักใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมอาหาร และการผลิตของหวานเป็นส่วนใหญ่ แบะแซยังช่วยให้น้ำตาลรัดตัวเร็วขึ้น แก้ปัญหาการตกทรายหรือน้ำตาลตกผลึกได้เป็นอย่างดี นิยมนำมาทำกระยาสารท ทำน้ำราดข้าวหมูแดง หรือเพิ่มความเหนียวข้นให้กับน้ำจิ้ม น้ำปรุง น้ำหวาน เป็นต้น

ความแตกต่างระหว่าง แบะแซ และ น้ำเชื่อม

แบะแซเกิดจากการย่อยแป้งจนกลายเป็นน้ำตาล กลายเป็นผลิตภัณฑ์ให้ความหวานที่เหนียวหนืด แต่น้ำเชื่อมนั้นเกิดจากการละลายน้ำตาลกับน้ำเปล่า กระบวนการผลิตจึงมีความแตกต่างกันอย่างชัดเจน อีกทั้งน้ำเชื่อมยังให้ความหวานแหลม ซึ่งหวานมากกว่าแบะแซอีกด้วย หากวางแบะแซทิ้งไว้ ก็จะไม่ตกผลึกหรือเป็นทราย เหมือนกับน้ำเชื่อม

ประโยชน์และการนำแบะแซไปใช้งาน

แบะแซะ หรือ น้ำเชื่อมกลูโคส ใช้เป็นสารให้ความหวาน เช่นเดียวกับน้ำตาล ความหวาน ความใส และความหนืด (Viscosity) ของน้ำเชื่อมกลูโคส ขึ้นอยู่กับความบริสุทธิ์ ที่แสดงด้วย ค่าสมมูลเด็กซ์โทรส (Dextrose Equivalent) หรือค่า DE น้ำเชื่อมกลูโคสที่มีค่า DE มาก จะมีปริมาณกลูโคสมาก จะมีรสหวานและใสมากขึ้น แต่ความหนืดจะลดน้อยลง

ข้อมูล ค่าสมมูลเด็กซ์โทรส (DE)

ค่าสมมูลเด็กซ์โทรส หรือ Dextrose Equivalent หรือ เรียกสั้นๆว่า DE คือ ปริมาณร้อยละของน้ำตาลรีดิวซ์ (Reducing Sugar) คิดเป็นปริมาณน้ำตาลเด็กซ์โทรส (Dextrose) ที่มีอยู่ในคาร์โบไฮเดรตทั้งหมด ในอุตสาหกรรมอาหาร ใช้ค่า Dextrose Equivalent (DE) แสดงถึงระดับการย่อยแป้ง (Flour) หรือ สตาร์ช (Starch) ให้เป็นน้ำตาลกลูโคสหรือเด็กซ์โทรส โดยสตาร์ซ (Starch) มีค่า DE เท่ากับ 0 ขณะที่น้ำตาลกลูโคสมีค่า DE เท่ากับ 100 ตัวอย่างค่า DE ของคาร์โบไฮเดรตบางชนิด เช่น มอลโทเด็กซ์ทริน (Maltodextrin) มีค่า DE เท่ากับ 8, 10, 12, 20, 30 เป็นต้น ค่า Dextrose Equivalent ใช้เป็นข้อกำหนดคุณลักษณะของผลิตภัณฑ์ ที่ได้จากการย่อยแป้งให้มีโมเลกุลเล็กลง (Starch Hydrolysis) ซึ่งใช้เป็นสารให้ความหวาน (Sweetener) โดยจะไม่นิยมกำหนดค่าความหวาน (Relative Sweetness) แต่จะกำหนดเป็นค่า DE แทน ค่า DE ที่สูงกว่า แสดงว่าผลิตภัณฑ์นั้นมีความหวานมากกว่าค่า DE ที่ต่ำกว่า ค่า Dextrose Equivalent ของน้ำเชื่อมกลูโคส (Glucose Syrup) หมายถึง ปริมาณน้ำตาลเด็กซ์โทรส (Dextrose, ซึ่งคือ D-glucose) ที่มีอยู่ในน้ำเชื่อมกลูโคสทั้งหมด โดยน้ำหนักแห้ง หากสตาร์ช (Starch) ถูกไฮโดรไลซ์เป็นน้ำตาลกลูโคสมาก จะทำให้ได้น้ำเชื่อมกลูโคสที่มีค่า DE สูงมีความหวานมาก และมีความใสมากขึ้น

แบะแซ คือสารละลายของน้ำตาล จำพวก เด็กซ์โตรส มอลโตส กลูโตเด็กซ์ทริน ได้จากการย่อยแป้งด้วยเอนไซม์ ซึ่งแป้งเหล่านี้ได้มาจาก ข้าวโพด ข้าวสาลี มันฝรั่ง มันสำปะหลัง เป็นต้น โดยแบะแซ ในประเทศไทยนิยมทำมาจากมันสำปะหลัง แบะแซมีลักษณะ เหนียว ใส นิยมนำมาใช้ในการทำขนม ผลไม้กวน และอาหารอีกหลากหลายชนิด

กลูโคสไซรัป เป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการย่อยสลายแป้ง มีลักษณะเป็นของเหลว ใส เหนียว ข้น รสหวานเล็กน้อย ไม่มีสี ใช้เป็นส่วนประกอบในผลิตภัณฑ์อาหารหลากหลายชนิด เช่น ลูกกวาด ทอฟฟี่ต่าง ๆ ผลไม้กวน น้ำผลไม้ผง ไอศกรีม ครีมเทียม และเครื่องดื่มต่าง ๆ เป็นต้น น้ำเชื่อมกลูโคส (Glucose Syrup) อาจเรียกว่า กลูโคสไซรัป หรือ แบะแซ เป็นสารให้ความหวาน (Sweetener) ที่เป็น ของเหลว ใส และข้นหนืด

การผลิต น้ำเชื่อมกลูโคส

น้ำเชื่อมกลูโคส เป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการย่อยโมเลกุลของสตาร์ชให้เล็กลง (Starch Hydrolysis) การผลิตน้ำเชื่อมกลูโคส มีวัตถุดิบหลักคือ สตาร์ช (Starch) จากแป้ง เช่น แป้งข้าวโพด แป้งมันสำปะหลัง แป้งข้าวเจ้า นำมาผสมกับน้ำ แล้วทำให้สุก (Gelatinization) หลังจากนั้นน้ำแป้งสุกจะถูกย่อย (Hydrolysis) ด้วยกรดหรือเอนไซม์ (Enzyme) ที่ย่อยสตาร์ชได้ เช่น Amylase ทำให้สตาร์ชมีขนาดโมเลกุลเล็กลง กระบวนการทำให้สตาร์ชมีโมเลกุลเล็กลง เรียกว่า Starch Hydrolysis ได้เป็นน้ำเชื่อมกลูโคสที่เป็นของเหลว ใส หวาน ข้น หนืด มีส่วนประกอบเป็นน้ำตาลกลูโคส (Glucose) มอลโทส (Maltose) และโอลิโกแซ็กคาไรด์ (Oligosaccharide) ปัจจุบันนิยมผลิตกลูโคสไซรัป ด้วยการย่อยด้วยเอนไซม์ เนื่องจาก ให้ความบริสุทธ์ของกลูโคสมากกว่าการย่อยด้วยกรด

คุณสมบัติของ น้ำเชื่อมกลูโคส

น้ำเชื่อมกลูโคส ใช้เป็นสารให้ความหวาน เหมือนน้ำตาล ความหวาน ความใส และความหนืด (Viscosity) ของน้ำเชื่อมกลูโคส ขึ้นอยู่กับความบริสุทธิ์ ที่แสดงด้วยค่า Dextrose Equivalent หรือ DE น้ำเชื่อมกลูโคสที่มีค่า DE มาก จะมีปริมาณกลูโคสมาก จะมีรสหวานและใสมากขึ้น แต่ความหนืดน้อยลง

วัตถุประสงค์ การใช้น้ำเชื่อมกลูโคสในอาหาร

เพื่อให้ความหวาน (Sweetener) หรือเพิ่มความหวานให้อาหาร ป้องกันการตกผลึกของน้ำตาล ปรับปรุงเนื้อสัมผัส (Texture) และเป็นวัตถุดิบหลักของการผลิต น้ำเชื่อมฟรักโทส หรือ ฟรักโทสไซรัป (Fructose Syrup) ซึ่งมีความหวานมากกว่าน้ำเชื่อมกลูโคส (Glucose Syrup)

การใช้กลูโคสไซรัป ในผลิตภัณฑ์อาหาร

เครื่องดื่ม (Drink and Beverage)

ครีมเทียม (Non-Dairy Creamer), NDC

น้ำอัดลม (Carbonated Beverage)

ขนมหวาน (Confectionery)

ลูกกวาด (Candy)

ไอศกรีม (Ice Cream)

แยม (Jam)

ผลไม้กวน (Preserved Fruit)

ซอส, น้ำจิ้ม (Sauce, Seasoning)

ยาแก้ไอ, ยาน้ำเชื่อม, ยาไซรัป (Syrup)

เป็นต้น

สารให้ความหวานในชีวิตประจำวัน

สารให้ความหวานที่เรารู้จักกันดี มักมาในรูปแบบ น้ำตาลทราย น้ำตาลปี๊บ และน้ำเชื่อม แต่ยังมีอีกหนึ่งผลิตภัณฑ์สารให้ความหวาน ที่มีการใช้งานอย่างกว้างขวางในอุตสาหกรรมอาหาร นั่นก็คือ “แบะแซ” ซึ่งเป็นสารให้ความหวานใกล้ตัว ที่หลายคนรู้จักและพบเห็นเป็นประจำในอาหาร หรือขนมที่เรารับประทานในชีวิตประจำวัน ชื่อของแบะแซ อาจจะคุ้นหูกับคนที่ชื่นชอบการทำอาหารหรือทำขนมมาบ้าง แต่คงมีอีกหลายคนที่ไม่รู้จักกับผลิตภัณฑ์ให้ความหวานอย่างแบะแซ ว่าแท้จริงแล้ว แบะแซคืออะไร มีประโยชน์หรือคุณสมบัติอย่างไร และนิยมนำไปใช้ทำอะไร

แบะแซ คืออะไร

แบะแซ หรืออีกหนึ่งชื่อเรียกคือ น้ำเชื่อมกลูโคส หรือ กลูโคสไซรัป (Glucose Syrup) หรือกลูโคสก้อน เป็นสารชีวิโมเลกุล ที่ได้มาจากการย่อยแป้งมันสำปะหลัง จะมีลักษณะเหนียวใส หนืด มีทั้งแบบใสและสีเหลืองน้ำตาล ส่วนใหญ่จะใช้เพื่อช่วยทำให้น้ำตาลรัดตัวเร็วขึ้น แก้ปัญหาน้ำตาลตกผลึก หรือเป็นทราย

ประเภทของ แบะแซ

แบะแซน้ำ : มักจะใช้ในการทำอาหารหรือเป็นส่วนผสมในอาหารทั่วไป เช่น น้ำราดข้าวหมูแดง, น้ำจิ้ม, ซอสเคลือบไก่ย่างเกาหลี, ช็อคโกแลต, ไอศกรีม แบะแซช่วยทำให้ไอศกรีมละลายช้าลง, กระยาสารท, ขนมถั่วตัด และ ขนมหนวดมังกร เป็นต้น

แบะแซผง : นิยมใช้ในผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูป เช่น ลูกอม, ขนมหวาน, ลูกกวาด รวมทั้ง อุตสาหกรรมยา และช่วยเคลือบเงาผลิตภัณฑ์อาหารได้อีกด้วย “แบะแซผง” เป็นการแปรรูปผลิตภัณฑ์ Glucose Syrup ใช้ประกอบการเคลือบเงาผลิตภัณฑ์ เช่นขนมเม็ดสีของเด็ก ๆ ลูกอมต่าง ๆ เพิ่มเนื้อสัมผัส หรือปรับปรุงลักษณะของผลิตภัณฑ์ แต่เนื่องจากแบะแซผง ได้ผ่านกระบวนการทำให้แห้งด้วยระบบ “สเปรย์ดราย” ทำให้สามารถเก็บรักษาได้ยาวนานขึ้น เมื่อเก็บรักษาในภาชนะปิดผนึก ที่อุณหภูมิห้อง และยังสะดวกต่อการนำไปใช้งานในลักษณะผสมแห้ง หรือ ดรายมิกซ์ (Dry Mix) อีกทั้งยังสามารถปรับค่า Brix ได้ตามสัดส่วนการละลายในน้ำอุ่น จึงเป็นผลิตภัณฑ์ที่ตอบสนองต่อผู้ใช้งานในอุตสาหกรรมอาหาร ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โรงงานอุตสาหกรรมที่ทันสมัยจึงนิยมใช้ แบะแซผง หรือ กลูโคสผง กันอย่างแพร่หลายมากขึ้นในปัจจุบัน

แบะแซ และ น้ำเชื่อม แตกต่างกันอย่างไร

แบะแซ เป็นสารชีวโมเลกุล ที่ได้มาจากการย่อยแป้งมันสำปะหลัง เป็นผลิตภัณฑ์ให้ความหวานที่เหนียวหนืด แต่สำหรับน้ำเชื่อมนั้น เกิดจากการละลายน้ำตาลกับน้ำเปล่า ซึ่งกระบวนการผลิตแบะแซและน้ำเชื่อมก็แตกต่างกัน อีกทั้งน้ำเชื่อม ยังให้ความหวานมากกว่าแบะแซอีกด้วย ที่สำคัญ หากวางแบะแซทิ้งไว้ก็จะไม่ตกผลึกหรือเป็นทราย เหมือนกับน้ำเชื่อมนั่นเอง

คุณสมบัติในการใช้งานของแบะแซ

แบะแซ ผลิตมาจากแป้งมันสำปะหลัง มีลักษณะเหนียวใส มีความข้นหนืด และความหวานต่ำ สามารถใช้แบะแซเป็นส่วนผสมในอาหารแทนการใช้น้ำตาลได้เป็นอย่างดี ส่วนมากจะใช้ในอุตสาหกรรมอาหาร ที่ต้องการความหวาน เพื่อช่วยในเรื่องลดเวลาในกระบวนการผลิต เช่น การใช้แบะแซร่วมกับน้ำตาล จะช่วยให้น้ำตาลรัดตัวเร็วขึ้น ตัวอย่างเช่น เวลากวนไส้ขนมเปี๊ยะ แบะแซจะช่วยทำให้ไส้ขนมเกาะตัว ทำให้ปั้นขนมง่ายขึ้นนั่นเอง และยังมีความหนืดคงที่ ไม่คืนตัว ด้วยคุณสมบัติพิเศษข้างต้น ทำให้แบะแซเป็นที่นิยมนำมาผสม เพื่อกวนไส้ขนม, ลูกชุบ, ขนมเปี๊ยะ จะช่วยให้ไส้ขนมเกาะตัวกัน เวลาปั้นไส้ สามารถปั้นได้ง่ายขึ้นนั่นเอง

ประโยชน์ของแบะแซ

แบะแซ เป็นสารให้ความหวาน ที่แปรรูปมาจากแป้งมันสำปะหลัง ส่วนใหญ่จะใช้แทนน้ำตาล หรือทำให้น้ำตาลเกิดการรัดตัวเร็วขึ้น มักจะใช้ในการทำอาหารหรือขนมหวานเป็นส่วนใหญ่ ซึ่งในชีวิตประจำวัน เราสามารถพบเห็นการนำแบะแซไปประกอบอาหารหรือทำขนมได้โดยทั่วไป เพราะนิยมใช้กันอย่างแพร่หลาย โดยส่วนใหญ่จะนิยมใช้ทำเป็นกระยาสารท, ลูกอม, น้ำจิ้ม, ซอส, ไส้ขนม, น้ำราดข้าวหมูแดง เป็นต้น อาหารเหล่านี้ก็ล้วนแล้วแต่มีส่วนผสมของแบะแซอยู่ นอกจากนี้ยังสามารถดัดแปลง นำมาใช้เคลือบอาหารเพื่อทำให้ดูขึ้นเงา น่ารับประทานยิ่งขึ้นอีกด้วย ผลิตภัณฑ์แบะแซ จึงเป็นอีกหนึ่งทางเลือก เป็นตัวช่วยเพิ่มความความอร่อยของอาหารมากยิ่งขึ้น โดยผลิตภัณฑ์แบะแซ ของไทยโพลี แปรรูปมาจากแป้งมันสำปะหลัง ให้ความหวานประมาณ 70% ของน้ำตาลทราย นิยมใช้เป็นส่วนผสมในการกวนไส้ขนม เช่น ถั่วกวนในขนมเปี๊ยะ จะช่วยให้ปั้นไส้ง่ายขึ้น และอาหารประเภทน้ำราดข้าวหมูแดง, กระยาสารท, ซอสเคลือบไก่ย่างเกาหลี, ซอสเคลือบเป็ดย่าง ก็ใช้เป็นสารให้ความหวานแทนน้ำตาล นอกจากจะสามารถนำแบะแซไปทำของหวาน หรืออาหารต่าง ๆ แล้ว ยังสามารถนำ แบะแซ ไทยโพลี ไปใช้เป็นส่วนผสมในการทำนมหนืด สำหรับเครื่องดื่มชนิดต่าง ๆ หรือใช้เป็นส่วนผสมในการเคลือบ ทำให้อาหารหรือขนมหวานของเราเงางาม เช่น กรอบเค็ม ครองแครง เป็นต้น แบะแซ มีหลายเกรด หลายคุณสมบัติ หลายคุณภาพด้วยกัน โดยแบะแซในประเทศไทย ส่วนใหญ่นิยมทำมาจากมันสำปะหลัง ซึ่งผลิตภัณฑ์ แบะแซ ไทยโพลี แปรรูปมาจากแป้งมันสำปะหลังคุณภาพดีเยี่ยม ให้ความหวานประมาณ 70% ของน้ำตาลทราย เพื่อเป็นทางเลือกใหม่ในการประหยัดค่าใช้จ่าย และลดเวลาในการประกอบอาหารที่คุณชื่นชอบ และเพิ่มความหวานให้อาหารมีรสชาติชวนรับประทานมากยิ่งขึ้น สามารถสั่งซื้อแบะแซ หรือ น้ำเชื่อมกลูโคส ได้โดยตรงที่ ฝ่ายขาย วัตถุเจือปนอาหาร บริษัท ไทยโพลีเคมิคอล จำกัด โทร 034854888 โทร 0893128888 ไลน์ไอดี thaipoly8888 อีเมลล์แอดเดรส polychemicals888@gmail.com เว็บไซต์ www.thaipolychemicals.com

ผลิตภัณฑ์น้ำเชื่อม หรือ ไซรัป, ซีรัป (Syrup) ที่บริษัท จำหน่ายในปัจจุบัน ได้แก่

Dextrose Syrup, น้ำเชื่อมเด็กซ์โตรส, เด็กซ์โตรสไซรัป, เด็กซ์โตรสซีรัป, น้ำตาลเดกซ์โทรส

Fructose Syrup, น้ำเชื่อมฟรุกโตส, ฟรุกโตสไซรัป, ฟรุกโตสซีรัป, น้ำตาลฟรักโทส

Glucitol Syrup, น้ำเชื่อมกลูซิทอล, กลูซิทอลไซรัป, กลูซิทอลซีรัป

Glucose Syrup, น้ำเชื่อมกลูโคส, กลูโคสไซรัป, กลูโคสซีรัป, น้ำตาลกลูโคส

Maltitol Syrup, น้ำเชื่อมมอลติทอล, มอลติทอลไซรัป, มอลติทอลซีรัป

Maltose Syrup, น้ำเชื่อมมอลโทส, มอลโทสไซรัป, มอลโทสซีรัป, น้ำตาลมอลโทส

Sorbitol Syrup, น้ำเชื่อมซอร์บิทอล, ซอร์บิทอลไซรัป, ซอร์บิทอลซีรัป

ผลิตภัณฑ์น้ำเชื่อมผง หรือ พาวเดอร์ (Powder) ที่บริษัท จำหน่ายในปัจจุบัน ได้แก่

Dextrose Powder, เดกซ์โตรสผง, ผงเดกซ์โตรส, น้ำตาลเดกซ์โทรส

Fructose Powder, ฟรุกโตสผง, ผงฟรุกโตส, ฟรักโทสผง, น้ำตาลฟรักโทส

Glucitol Powder, กลูซิทอลผง, ผงกลูซิทอล, กลูซิตอล

Glucose Powder, กลูโคสผง, ผงกลูโคส, แบะแซผง

Maltitol Powder, มอลติทอลผง, ผงมอลติทอล, มอลทิทอล

Maltose Powder, มอลโทสผง, ผงมอลโทส, มอลโตส

Sorbitol Powder, ซอร์บิทอลผง, ผงซอร์บิทอล, ซอร์บิตอล

More information of syrup, natural sweetener, food grade, food additive

Please contact Thai Poly Chemicals Company (TPCC), FCC, Thailand


วันจันทร์ที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2568

Stevia Extract, Rebaudioside A, Steviol Glycoside, Stevioside, Stevia Sugar, Thailand Stevia

 


Stevia Extract, Rebaudioside A, Steviol Glycoside, Stevioside, Stevia Sugar, Thailand Stevia

More information of stevia extract, food additive, food grade, please contact

Thai Poly Chemicals Company (Food Additive)
Tel No: +6634 854888
Mobile: +668 93128888

Line ID: thaipoly8888

Email: thaipoly8888@gmail.com

Web: www.thaipolychemicals.com

Product description of Stevia. What is Stevia?

Plant-based 100% natural sweetener extracted from leaves of stevia rebaudiana

Zero calorie sugar substitute

Potency of 200-400x the sweetness of sugar

Approved by regulatory bodies and food safety experts worldwide and in all major markets including US, Europe, Canada, Australia/New Zealand, China, Japan, Korea, and many more

Enjoyed by 5 billion people around b the world in their food and beverages

The History of Stevia

Grown for centuries in Paraguay, the stevia rebaudiana plant has been used by many generations of indigenous South Americans as a natural sweetener for teas and medicines. Its taste was so powerful that some would even enjoy chewing on the plant’s leaves as nature’s sweet treat. It wasn’t until the 19th and 20th centuries though that scientists would discover and study these leaves, where they isolated and identified the sweet tasting chemical components as steviol glycosides. These compounds are the secret to stevia’s sweet magic, boasting a potency of 200-400x the sweetness of sugar. The stevia plant contains an abundant variety of these glycosides, each with their own sweetness and taste profile. Today, stevia enhances the taste of food and beverage products enjoyed by 5 billion people around the globe. And centuries later, laboratories everywhere are still perfecting the science of extracting, refining and purifying steviol glycosides.

Zero Calories. Limitless Potential.

Not only does stevia have a far higher sweetness potency than sugar, it also has none of sugar’s calories. The potential health benefits of lower caloric intake and reduced glycemic impact on blood sugar make stevia-based sweeteners an ideal sugar substitute for people with diabetes, children, and many others seeking healthier diets and lifestyles. Stevia’s natural sweetness and potential health benefits are just some of the reasons its commercial use by food and beverage manufacturers has exploded worldwide  

100% all natural, non-artificial sweetener

Pure and highly potent sweet taste

Zero calories and zero glycemic index for healthier ingredients and healthier products

Non-cariogenic and dental-friendly

Versatility as a total or partial replacement for caloric sugars

Flavor enhancer in use with other sweetener ingredients

Heat stability up to about 390 F and can be used in cooking and baking as well as other high temperature processing and packaging conditions

Extremely stable to low pH food, beverage processes and finished products systems

Excellent solubility in aqueous systems

Regulatory Approval and Safety

Commercial use of stevia as a food and beverage sweetener first started in the 1970s in Japan. It wasn’t until more recent years that the adoption of stevia has surged in popularity around the world, after hundreds of long-term scientific studies confirmed that steviol glycosides are safe for human consumption. These safety conclusions paved the way for the Food and Agriculture Organization and the World Health Organization’s Joint Expert Committee on Food Additives (JECFA), a global panel of food ingredient safety experts, to approve the use of stevia in 2008 and 2009. In the US, the Food & Drug Administration (FDA) granted Generally Recognized As Safe (GRAS) status to high purity stevia extract in 2008. The same year, Food Standards Australia New Zealand (FSANZ) approved stevia as a food additive. The European Food Safety Authority (EFSA) also followed suit when they authorized the use of stevia in 2011.

More information of Stevia extract powder, please contact Thai Poly Chemicals Company (Sweetener Division)

Sweetener list that supplied by Thai Poly Chemicals Company (Food Additive Division)
Acesulfame K, ACK, อะซีซัลเฟมเค, เอซีเค

Acesulfame Potassium, อะซีซัลเฟมโพแทสเซียม

Artificial Sweeteners, สารทดแทนน้ำตาล

Aspartame, แอสปาร์แตม, แอสพาร์แตม

Dextrose Anhydrous, เด็กซ์โตรสแอนไฮดรัส

Dextrose Monohydrate, เด็กซ์โตรสโมโนไฮเดรต

Dextrose Syrup, น้ำเชื่อมเด็กซ์โตรส, เด็กซ์โตรสไซรัป

D-Xylose, ดีไซโลส

Erythritol, อิริทริทอล, น้ำตาลอิริท

Ethyl Maltol, เอทิลมัลทอล

Ethyl Vanillin, เอทิลวานิลิน

Fructose Powder, ฟรุกโตสผง, ฟรักโทสผง

Fructose Syrup, น้ำเชื่อมฟรุกโตส, ฟรุกโตสไซรัป

Glucitol Powder, กลูซิทอลผง, ผงกลูซิทอล

Glucitol Syrup, น้ำเชื่อมกลูซิทอล, กลูซิทอลไซรัป

Glucose Powder, กลูโคสผง, ผงกลูโคส, แบะแซผง

Glucose Syrup, น้ำเชื่อมกลูโคส, กลูโคสไซรัป, แบะแซ

Glycerine, กลีเซอรีน, กลีเซอรีนบริสุทธิ์, รีไฟน์กลีเซอรีน

Glycerol, กลีเซอรอล, กลีเซอรอลบริสุทธิ์, รีไฟน์กลีเซอรอล

Hydrogenated Maltose Syrup, ไฮโดรจีเนตมอลโตส

Icing Sugar, น้ำตาลไอซิ่ง, น้ำตาลทรายผง

Inulin, Chicory Inulin, อินูลิน, อินนูลิน

Isomalt, ไอโซมอลท์, ไอโซมอลต์

Lactitol Monohydrate, แลคติทอล โมโนไฮเดรต

Luo Han Guo Extract, น้ำตาลหล่อฮังก๊วย

Maltitol, มอลทิทอล, มอลติตอล, มัลทิทอล

Maltitol Powder, มอลทิทอลผง, ผงมอลทิทอล

Maltitol Syrup, น้ำเชื่อมมอลทิทอล, มอลทิทอลไซรัป

Maltodextrin, มอลโทเด็กซ์ทริน, มอลโตเด็กซ์ตริน

Maltose Syrup, น้ำเชื่อมมอลโทส, มอลโทสไซรัป

Mannitol, แมนนิทอล, มันนิทอล

Mogroside V, โมโกรไซด์, โมโกรไซด์วี

Monk Fruit Extract, น้ำตาลหล่อฮังก๊วย 

Mycose, ไมโคส, น้ำตาลถนอมอาหาร

Neotame, นีโอแตม, นีโอเตม

Rebaudioside A, รีเบาดิโอไซด์เอ, สารสกัดจากหญ้าหวาน

Sodium Cyclamate, โซเดียมไซคลาเมต, แป้งหวาน

Sodium Saccharin, โซเดียมแซคคาริน, ขัณฑสกร, ดีน้ำตาล

Sorbitol, ซอร์บิทอล, ซอร์บิตอล

Sorbitol Powder, ซอร์บิทอลผง, ผงซอร์บิทอล

Sorbitol Syrup, น้ำเชื่อมซอร์บิทอล, ซอร์บิทอลไซรัป

Specialty Sweetener, สารเพิ่มความหวานชนิดพิเศษ

Stevia, หญ้าหวาน, สตีเวีย, รีเบาดิโอไซด์เอ

Stevia Extract, สารสกัดหญ้าหวาน, สตีวิออลไกลโคไซด์

Stevia Sugar, น้ำตาลหญ้าหวาน, น้ำตาลสตีเวีย

Sucralose, ซูคราโลส, ซูคาร์โลส

Sugar, น้ำตาลทราย, น้ำตาลทรายบริสุทธิ์

Sugar Substitutes, สารให้ความหวานแทนน้ำตาล

Trehalose, ทรีฮาโลส, ตรีฮาโลส

Tremalose, ทรีมาโลส, ตรีมาโลส

Vanillin Powder, วานิลิน, วะนิลิน

Xylitol, ไซลิทอล, ไซลิตอล, น้ำตาลเทียม

More information of sweetener, please contact Thai Poly Chemicals Company Limited (TPCC)

Chemical, Food Grade, Food Additive, FCC, Pharmaceutical Grade, USP, EP, JP

Please Contact Thai Poly Chemicals Company, Poly Chemicals For A Better Life